วันเสาร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2553

ความรู้เกี่ยวกับ moodle

            
Moodle

 
Moodle  มากค่า Modular  Object  Oriented  Dynamic  Learning
Environment เป็น course management system (CMS) หรือ ระบบจัดการเรียน (LMS) Open Source Software ที่พัฒนาขั้นเพื่อช่วยในกรจัดกิจกรรมกเรียนรสนในระบบเรียนแบบออน์ ให้มีบรรยาศเมือเรียนในห้องเรียนจริงที่ผู้สอนกับผู้เรียนามามีปฏิสัมพันธ์รว่างกันได้ ู้พัฒนา Moodle    คืDr.Martin Dougiamas าวออีย ปัจจุบัน Moodle ได้ผนไปใช้งานทั่วโลกก่า
75าษ 193 ปร ดยเว็บไซต์หลักคือ http://moodle.org 


เว็บไซต์ Moodle.org

Moodle เป็นซอฟต์แวร์สหรับใช้ในรจัดการร็บ โดยกหนใหม่ระบุบกรจัดการเว็บไซต์ ซึ่งรองรับทั้งผู้ดูแลระบุ ผู้สอน ละผู้เรียน มีเครื่องมือทีช่วยในกรจัดแหลงความรู้ กิจกรรม ละสภแวดล้อม งกเรียนรสนผเว็บให้เป็นไปได้ย่ปรธิภระบุบนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นดยื้นฐมา Open Source Software ได้แกphp mysql

ข้อควรทราบเกี่ยวกับมูเดิ้ล

สิ่งที่ควรมี ก่อนใช้มูเดิ้ล (Requirement)
1. มี เว็บบราวเซอร์ (Web Browser) เพื่อติดต่อกับโปรแกรมมูเดิ้ล จำเป็นทั้งต่อครู และนักเรียน
2. มี เว็บเซอร์ฟเวอร์ (Web Server) เพื่อบริการรับการเชื่อมต่อเข้าไป โดยรองรับภาษาพีเอชพี (php) และฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล (mysql)
3. มี ผู้ติดตั้ง (Installer) และ ผู้ดูแลระบบ (Admin) เพื่อทำให้ระบบเกิดขึ้น และให้บริการแก่ผู้ใช้
4. มี ผู้บริหาร ครู และนักเรียน ที่ยอมรับเทคโนโลยี ดังนั้นมูเดิ้ลเหมาะสำหรับนักเรียนที่รับผิดชอบ ครูที่มุ่งมั่น และผู้บริหารที่ให้งบประมาณ
5. มี การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่าย (Network) เช่น อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต หรือเครือข่ายท้องถิ่น (LAN)
จำนวนเว็บไซต์ที่ใช้มูเดิ้ล (ข้อมูลจาก http://moodle.org/sites/ )
+ 2552-09-30 : 39,180 + 6,347 sites (Thailand 659 sites + private 637 sites)
+ 2549-07-19 : 13,544 sites (Thailand 462 sites)
+ 2547-03-18 : 1,216 sites (Thailand 34 sites)

บทบาทของผู้เข้าใช้มูเดิ้ล (Who are them?) 

1. ผู้ดูแล (Admin) มีหน้าที่ ติดตั้งระบบ บำรุงรักษา กำหนดค่าเริ่มต้น กำหนดสิทธ์การเป็นครู แก้ไขปัญหาให้แก่ครู และนักเรียน
2. ครู (Teacher) มีหน้าที่ เพิ่มแหล่งข้อมูล เพิ่มกิจกรรม ให้คะแนน ตรวจสอบกิจกรรม ตอบคำถาม และติดต่อสื่อสารกับนักเรียน
3. นักเรียน (Student) มีหน้าที่ เข้าศึกษาแหล่งข้อมูล และทำกิจกรรม ตามแผนการสอน
4. ผู้เยี่ยมชม (Guest) สามารถเข้าเรียนได้เฉพาะวิชาที่อนุญาต และถูกจำกัดสิทธ์ในการทำกิจกรรม

แหล่งข้อมูล หรือกิจกรรม (Resource and Activities) 

1. ป้ายประกาศ (Label) คือ ระบบแสดงข้อความ เพื่อประกาศให้นักเรียนทราบข่าวสาร
2. กระดานเสวนา (Forum) คือ กระดานที่ครู และนักเรียนเข้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
3. การบ้าน (Assignment) คือ ระบบที่ครูกำหนดโจทย์ให้นักเรียนไปค้นคว้า แล้วนำแฟ้มงานมาอัพโหลด (upload) ส่งครู
4. ห้องสนทนา (Chat) คือ ระบบที่สามารถนัดเวลาสนทนาระหว่างครู และนักเรียน แบบออนไลน์
5. แบบทดสอบ (Quiz) คือ ระบบวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้วยข้อสอบแบบปรนัย หรืออัตนัย
6. แหล่งข้อมูล (Resources) คือ แหล่งข้อมูลอื่น เช่น text, html, upload, weblink, webpage, program
7. โพลล์ (Poll) คือ ระบบที่เปิดให้สามารถถามความคิดเห็นจากนักเรียน
8. สารานุกรม (Wiki) คือ ระบบสร้างแหล่งอ้างอิงเชิงบูรณาการระหว่างครู และนักเรียน
9. อภิธานศัพท์ (Glossary) คือ รวมคำศัพท์ จัดหมวดหมู่ สามารถสืบค้นได้
10. ห้องปฏิบัติการ (Workshop) คือ ระบบที่ให้นักเรียนทำงาน แล้วส่งงาน ซึ่งประเมินผลได้หลายแบบ
11. สกอร์ม (SCORM) คือ แหล่งข้อมูลที่รวมเนื้อหา หรือแฟ้มข้อมูลจากภายนอก ถูกยอมรับเป็นมาตรฐานหนึ่งของ Learning Object

กิจกรรมของครู (Teacher Activities)

1. สมัครสมาชิกด้วยตนเอง และรอผู้ดูแล อนุมัติ ให้เป็นครู หรือผู้สร้างคอร์ส
2. ครูสร้างคอร์ส และกำหนดลักษณะของคอร์สด้วยตนเอง
3. เพิ่ม เอกสาร บทเรียน และลำดับเหตุการณ์ตามความเหมาะสม
4. ประกาศข่าวสาร หรือนัดสนทนา กับนักเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต
5. สามารถสำรองข้อมูลในวิชา เก็บเป็นแฟ้มเพียงแฟ้มเดียวได้
6. สามารถกู้คืนข้อมูลที่เคยสำรองไว้ หรือนำไปใช้ในเครื่องอื่น
7. สามารถดาวน์โหลดคะแนนนักเรียนที่ถูกบันทึกจากการทำกิจกรรม ไปประมวลผลใน Excel
8. กำหนดกลุ่มนักเรียน เพื่อสะดวกในการจัดการนักเรียนจำนวนมาก
9. ยกเลิกนักเรียนในรายวิชา ถ้าพบว่ามีความประพฤติไม่เหมาะสม หรือเข้าเรียนผิดรายวิชา
10. ตรวจสอบกิจกรรมของนักเรียนแต่ละคน เช่น ความถี่ในการอ่านบทเรียน หรือคะแนนในการสอบ
11. เพิ่มรายการนัดหมาย หรือกิจกรรม แสดงด้วยปฏิทิน
12. สร้างเนื้อหาใน SCORM หรือสร้างข้อสอบแบบ GIFT แล้วนำเข้าได้สู่ระบบ

กิจกรรมของนักเรียน (Student Activities)

1. สมัครสมาชิกด้วยตัวนักเรียนเองได้
2. รออนุมัติการเป็นสมาชิก และสมัครเข้าเรียนแต่ละวิชาด้วยตนเอง (บางระบบ สามารถสมัคร และเข้าเรียนได้ทันที)
3. เรียนรู้จากเอกสาร หรือบทเรียน ที่ครูกำหนดให้เข้าไปศึกษาตามช่วงเวลาที่เหมาะสม
4. ฝากคำถาม หรือข้อคิดเห็น หรือสนทนาระหว่างครูและนักเรียน
5. ทำกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น ทำแบบฝึกหัด หรือส่งการบ้าน
6. แก้ไขข้อมูลส่วนตัวของตนเองได้
7. เรียนรู้ข้อมูลของครู เพื่อนนักเรียนในชั้น หรือในกลุ่ม เพื่อสร้างความคุ้นเคยได้

 ข้อมูลประกอบการตัดสินใจเลือกใช้ Moodle 

1. การใช้ moodle ควรมีอะไรบ้าง (Requirement)

1. มี Web Browser เช่น Internet explorer ในการติดต่อกับ moodle ทั้งโดยอาจารย์ และนักศึกษา
2. มี Web Server ที่ให้บริการ php และ mysql
3. มี ผู้ติดตั้ง ผู้ดูแล และบำรุงรักษา ควรทำโดยนักคอมพิวเตอร์ที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับการ
เขียนเว็บ เพราะการติดตั้งไม่ง่ายเลย
4. มี ครู นักเรียน และผู้บริหาร ที่ยอมรับในเทคโนโลยี ดังนั้น moodle ไม่เหมาะกับเด็กอนุบาล
หรือครูที่ไม่มีไฟ
5. มี การเชื่อมต่อเป็นเครือข่าย เช่น อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต หรือเครือข่ายท้องถิ่น (LAN)

2. จำนวนเว็บไซต์ที่ใช้ Moodle (How popular)ข้อมูลจาก http://moodle.org/sites/ไทย 881 sites (71 not shown here)
ผู้เกี่ยวข้องกับ Moodle (Who are them?)
ผู้ดูแล (Admin) : ติดตั้งระบบ บำรุงรักษา กำหนดค่าเริ่มต้น และกำหนดสิทธ์การเป็นผู้สอน
ผู้สอน (Teacher) : เพิ่มแหล่งข้อมูล เพิ่มกิจกรรม ให้คะแนน ตรวจสอบกิจกรรมผู้เรียน ตอบ
คำถาม และติดต่อสื่อสาร
ผู้เรียน (Student) : เข้าศึกษาแหล่งข้อมูล และทำกิจกรรม ตามแผนการสอน
ผู้เยี่ยมชม (Guest) : เข้าเรียนได้เฉพาะวิชาที่อนุญาต และจำกัดสิทธ์ในการทำกิจกรรม

แหล่งข้อมูล หรือกิจกรรม (Resource and Activities)

 SCORM (แหล่งข้อมูล ที่รวม Content จากภายนอก ที่เป็นมาตรฐาน)
1. Wiki (สารานุกรม ที่ยอมให้ผู้เรียนเข้ามาแก้ไข)
2. อภิธานศัพท์ (Glossary : รวมคำศัพท์ จัดหมวดหมู่ สามารถสืบค้นได้)
3. ห้องสนทนา (Chat : ห้องที่สามารถนัดเวลาสนทนาระหว่างครู และนักเรียน)
4. กระดานเสวนา (Forum : กระดานให้ครู และนักเรียนเข้ามาฝากความคิดเห็น)
5. การบ้าน (Assignment : ที่นักเรียนพิมพ์งานแล้วนำมา upload ส่งครู)
6. ห้องปฏิบัติการ (Workshop : ที่นักเรียนทำงาน แล้วส่ง ซึ่งประเมินได้หลายแบบ)
7. ป้ายประกาศ (Label : แสดงข้อความ เพื่อประกาศให้ทราบ)
8. แบบทดสอบ (Quiz : สร้างคลังข้อสอบ แล้วเลือกมาให้ทำบางส่วน ระบบสามารถอัตโนมัติ)
9. โพลล์ (Poll : แสดงความคิดเห็นตามตัวเลือก)
10. แหล่งข้อมูล (Resources : text, html, upload, weblink, webpage, program)

ประโยชน์ moodle 

1. เป็นโปรแกรมจัดการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประเภทฟรีแวร์ ที่ได้รับการยอมรับกันทั่วโลก
2. สามารถเป็นได้ทั้ง CMS (Course Management System) และ LMS (Learning Management System) ช่วยรวบรวมวิชาเป็นหมวดหมู่ เผยแพร่เนื้อหา ของผู้สอน พร้อมบริการให้นักเรียนเข้ามาศึกษา และบันทึกกิจกรรมของนักเรียน
3. สามารถสร้างแหล่งข้อมูลใหม่ หรือเผยแพร่เอกสารที่ทำไว้ เช่น Microsoft Office, Web Page, PDF หรือ Image เป็นต้น ใจกว้าง ไม่หวงวิชา มีเอกสารที่เคยรวบรวมไว้ ก็ส่งเข้าไปเผยแพร่ได้โดยง่าย
4. มีระบบติดต่อสื่อสาร ระหว่างนักเรียน เพื่อนร่วมชั้น และผู้สอน เช่น chat หรือ webboard เป็นต้น นักเรียนฝากคำถาม ครูทิ้งคำถามไว้ ครูนัดสนทนาแบบออนไลน์ ครูนัดสอนเสริม หรือแจกเอกสารให้อ่านก่อน เข้าเรียน ก็ได้
5. มีระบบแบบทดสอบ รับการบ้าน และกิจกรรม ที่รองรับระบบ ให้คะแนนที่หลากหลาย ให้ส่งงาน ให้ทำแบบฝึกหัด ตรวจให้คะแนนแล้ว export ไป excel
6. สำรองข้อมูลเป็น . zip แฟ้มเดียว ในอนาคตสามารถนำไปกู้คืน ลงไปในเครื่องใดก็ได้ ข้อมูลประกอบการตัดสินใจเลือกใช้ Moodle

ท่านผู้สนใจ ในเนื้อหา เกี่ยวกับ การสร้าง Moodle  สามารถเข้าไปไปเรียนรู้ได้ที่ เว็ปเพจข้างล่าง  โดยในเนื้อหาเกี่ยวกับ Moodle ประกอบด้วย เนื้อหาตามสารบัญ ดังนี้ 

Moodle 


                                                  


                                    สารบัญ


CHAPTER 1
นะนMoodle
1
CHAPTER 2
้าสู่ระบุออระบ
7
CHAPTER 3
ัด้อูลส่ัว
7

ปรัติ่วตัว
7

แก้ขข้อมูลส่วตัว
8

Blog
10
CHAPTER 4
ัดยวิช
14

ส่ะกข้อง
14

ุ่มเิ่ม-ปิดกแก้ในน้นี้
18

ัดกรบล็อ
19

พิ่บล็
20

ตั้งค่
21
CHAPTER 5
พิ่ล่ข้มู
25

ิ่มเอียดของนบทคัดย่อของหัข้อ 0
25

ตั้งชื่หัข้อ
30

ิ่มหล่งข้อมูลหน้าเว็พ็จ
31

พิ่หล่งข้อมูลหนัือ
34

ิ่มหล่งข้อมูล Label
38

เพิ่มแหล่งข้อมูลเว็บไซต์
41

เพิ่มแหล่งข้อมูลฟล์
42

เพิ่มแหล่งข้อมูลได็ก
46





CHAPTER 6
เพิ่มกิจกรรมบบ
51

เพิ่มกิจกรรมแบบท
51

สร้างคํามเก็บไว้ในังคํ
53

เพิ่มคํ้าไปในชุดแบบ
63

กิจกรรมแ
64

ำเข้าคํกภ
66

ดูคะแนนกรท
71
CHAPTER 7
เพิ่มกิจกรรมก้า
73

เพิ่มกิจกรรมการบ้าน
73

ให้คะแนนรรการบ้าน
75
CHAPTER 8
เพิ่มกิจกรรมกระดานเสวนา
79

เพิ่มกิจกรรมกระดานเสวนา
79

เพิ่มข่าว/ประกในกระดานข่
82

นหข้อมูลในกระดานเสวนา
84
CHAPTER 9
จ้กิจกรรมขอยว
85

เพิ่มกิจกรรมของ
85

ิ่มมีบล็อฏิิน
87
CHAPTER 10 กาํารอกู้ข้อมูล                                                                          89  
                     สงข้อมูล                                                                                           89 
                     กู้คืข้อมูล                                                                                              9



เขียนโดย อ.อมรเทพ เทพวิชิต 



ที่มา http://www.st.ac.th/e_learning    
   
ค้นคว้า เพิ่มเติมได้ืที่



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น